Tag: วิกฤตต้มยำกุ้ง
ในแสงแดดมีดวงดาว ฟาสต์ฟู้ดธุรกิจ 24
มีคนเปรยว่า “ความฝัน” เป็นเหมือน “ดาวเหนือ” ของนักเดินทาง และถ้าเปรียบ “ดวงดาว” บนท้องฟ้าเป็นดั่ง “ความฝัน” ของเรา ยามค่ำคืนที่อากาศเย็นและสงบ เราจะเห็น “ความฝัน” ของเราชัดเจนบนท้องฟ้า แต่พอกลางวันที่แดดร้อนที่เรามองไม่เห็นดวงดาว เรากลับลืมไปว่าบนฟ้าเดียวกันนั้นยังมีดวงดาวที่เป็นดั่งความฝันเราอยู่ที่เดิมเสมอ เพียงแค่เรามองไม่เห็นชั่วคราว ใช่ว่าจะไม่มีอีกแล้วตลอดไป เหมือนกับเวลาที่เราเจออุปสรรคเข้ามาในชีวิต เรามักลืมความฝันของเราไปเสมือนว่าไม่มีทางเป็นจริง
อ่านต่อกรอบที่ไม่มีเส้น ฟาสต์ฟู้ดธุรกิจ 20
การ “ตีกรอบ” ให้บางเรื่อง หรือบางแง่มุมในชีวิต อาจเป็นสิ่งที่เราหลายคนเคยชินกัน เช่น กรอบความสำเร็จของชีวิต ต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง มีบ้านมั้ย มีรถมั้ย มีครอบครัวมั้ย หรือ มีตำแหน่งหน้าที่การงานที่ดีมั้ย หรืออาจมีอีกหน่อยเป็นมีเงินฝากเก็บไว้ใช้ตอนเกษียณซักสองสามล้านมั้ย พอมีกรอบ เราก็รู้ว่าจะต้องไปถึงแค่ไหน หรือแค่ไหนที่ไม่ต้องเกินกว่ากรอบที่กำหนดไป แม้แต่ในการทำงานการตลาด ก็ต้องมีการกำหนดกรอบการทำงาน ที่เรียกว่า
อ่านต่อเศรษฐวิบัติ ฉบับปรับปรุง The Return of Depression Economics and The Crisis of 2008
หนังสือที่เขียนโดยนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลชื่อดังอย่าง Paul Krugman ที่ชำแหละเรื่องราววิกฤตการเงินกับเศรษฐกิจโลกในช่วงที่ผ่านมา ไม่ว่าจะวิกฤตต้มยำกุ้ง หรือ Hamberger Crisis ให้คนธรรมดาที่ไม่ใช่นักเศรษฐศาสตร์หรือสายการเงินก็เข้าใจได้ว่า ทั้งหมดทั้งมวลแล้วล้วนเป็นละครเรื่องเก่า พล็อตเดิม แค่เปลี่ยนเสื้อผ้าหน้าผมตัวละครกับฉากใหม่ๆเท่านั้นเอง อยากเห็นเศรษฐกิจล่มจมทั้งประเทศหรอ ไม่ยาก แค่เราทุกคนไปถอนเงินออกจากธนาคารพร้อมกัน แค่นั้นเศรษฐกิจของประเทศนั้นก็เป็นจุลแล้ว แถมรับประกันด้วยว่าประเทศคู่ค้าที่เกี่ยวข้องก็ต้องเจ็บตามกันแน่ๆ ทำไมแค่การถอนเงินพร้อมกันของทุกคนถึงทำให้เศรษฐกิจเล่มได้ล่ะ? เพราะธนาคารของพวกคุณไม่ได้มีเงินสดไว้มากพอสำหรับให้ทุกคนได้ถอนออกไปพร้อมกันในครั้งเดียวน่ะซิครับ เรื่องนี้เคยเกิดขึ้นแล้วที่สหรัฐอเมริกาในยุค
อ่านต่อEconomics The User’s Guide เศรษฐศาสตร์ฉบับทางเลือก
เมื่ออ่านจบความรู้สึกแรกที่รู้สึกสรุปออกมาหนึ่งประโยคให้กับหนังสือเล่มนี้คือ “เศรษฐศาสตร์จริงๆมันไม่ได้ซับซ้อนอย่างที่เคยคิดกันซักเท่าไหร่นี่หว่า?” ที่คิดแบบนี้เพราะครั้งนึงผมเคยเข้าไปเรียนในคณะเศรษฐศาสตร์มาหนึ่งปี(แล้วซิ่วไปที่อื่น) แล้วรู้สึกว่า…ยากชิบหาย มหภาค จุลภาค เส้นโค้งโน่นนี่นั่น หลายเรื่องไม่เคยเม้คเซ้นส์หรือเข้าใจได้เลยสำหรับผม จนพอเวลาล่วงเลยมาสิบกว่าปี(อย่าสงสัยเลยว่าผมอายุเท่าไหร่) ก็เริ่มสนใจอ่านหนังสือแนวเศรษฐศาสตร์มากขึ้น แต่เป็นเศรษฐศาสตร์แบบชาวบ้านๆ เริ่มแรๆเท่าที่จำได้ผมอ่านงานของ อาจารย์วรากร สามโกเศศ ในหนังสือชุด edutainment essay ของสำนักพิมพ์ openbooks พออ่านจบเล่มแรกเท่านั้นแหละ
อ่านต่อNeoliberalism เสรีนิยมใหม่
เริ่มด้วยคำถามที่ว่า Neoliberalism หรือ เสรีนิยมใหม่ คืออะไร ? ..เสรีนิยมใหม่ คือหลักการอุดมคติที่เชื่อว่า “ตลาดกำกับดูแลตัวเอง” เป็นเครื่องจักรที่ให้ปัจเจกชนแสวงหาความมั่นคั่งอย่างมีเหตุผล หรือจะเรียกได้ว่าต้นกำเนิดของมันน่าจะมาจาก “นักเสรีนิยมคลาสสิก” อย่าง Adam Smith และ David Ricardo ที่ต่อต้านลัทธิพาณิชยนิยม (Mercantisim)
อ่านต่อบรรยง พงษ์พานิช คิด
ถ้าถามว่าหนังสือประเภทไหนที่ผมชอบที่สุด ผมตอบได้เลยว่าผมชอบหนังสือประเภทกลั่นมาจากประสบการณ์ชีวิต โดยเฉพาะประสบการณ์ตรงของชีวิตผู้เขียน เพราะหนังสือแนวนี้จะเนื้อเน้นๆไม่มีน้ำ ไม่มากทฤษฎีหรือหลักการให้ปวดกะโหลก ไม่มีศัพท์แสงวิชาการที่ฟังดูต้องใช้จินตนาการเยอะ อ่านเข้าใจง่ายแต่กลับได้อะไรๆเยอะมาก เรียกได้ว่ามีขุมทรัพย์ซ่อนอยู่ระหว่างบรรทัดเลยก็ว่าได้ หนังสือประเภทนี้จะเต็มไปด้วยคำธรรมดาที่โคตรจะคม จนทำให้คำคมทั่วไปกลายเป็นโคตรธรรมดา ถ้าเป็นภาษาการตลาดหรือคนโฆษณานี่บอกได้เลยว่า เต็มไปด้วย key message หรือ super insight สะกิดใจทุกคำ และหนังสือเล่มนี้ก็เป็นทั้งหมดที่ผมว่า เป็นหนังสือที่กลั่นมาจากประสบการณ์ชีวิตของนักการเงินเศรษฐศาสตร์(หรืออะไรก็ตามทำนองนั้นที่ผมก็นิยามให้ไม่ถูกเหมือนกัน)ที่ชื่อว่า
อ่านต่อ